ครั้งที่ 6
วันศุกร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ครูได้ให้นำกล่องมา กล่องแบบใดก็ได้
กล่องสามารถบอกถึง รูปทรง พื้นที่ ปริมาณ การนับ
นับเป็นทางการ = ไม้บรรทัด ตลับเมคร
ไม่เป็นทางการ= มือ
กล่องใช้เรียงลำดับ หาค่ามาเปรียบเทียบ มาวางมือ แทนค่าต้องมีตัวเลขกำกับใช้
กล่องเป็นเศษส่วน =มีทั้งหมดเท่าไหร่ ยาสีฟันมี 6 กล่อง กล่องของทั้งหมด จับ 1-1
กล่งใช้ตามแบบ กล่องใช้เป็นเซต กล่องใช้เป็นการอนุรักษ์
ครูได้ให้จับกลุ่ม 11 คน แล้วนำกล่องมาประดิษฐิ์ในรูปแบบต่างๆ โดยมีโจทย์ให้แต่ละกลุ่มได้คิด
การนำกล่องมาให้เด็กได้คิดจะเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ เด็กเกิดการเชื่อมโยง
การจัดการสอนไม่ต้องลงทุน มีอะไรก็สามารถนำมาเชื่อมโยงได้
*เด็กมีประสบการณ์ก็จะมีข้อมูลมาก เกิดความรู้ใหม่อย่างชัดเจน *
วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ครั้งที่ 5
วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ขอบข่ายของหลักสูตร
ของดร. วิทยา
การเขียนเลขคณิตเพื่อแทนค่า สื่่อจำนวณ
1. นับจำนวณ
2. ตัวเลข เลขฮินดูอารบิก เลขไทย
3. จับคู่ รูปร่างรูปทรง จำนวณที่เท่ากัน
4. การจัดประเภท กำหนดเกณฑ์ต่างๆ สำหรับเด็ก จะสอนเด็กต้องสอนทีละเรื่อง
-กำหนดเกณฑ์ -ตรวจสอบ -จัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ ต้องใช้การสังเกต เด็กตอบตามที่เห็น
-ต้องหาค่าของมันก่อน -นำปริมาณมาเปรียบเทียบ
6. การจัดลำดับ
-ต้องหาค่า -เปรียบเทียบ -วางเรียงลำดับ -มีตัวเลขมากำกับ
7. รูปร่างและเนื้อที่
8. การวัด การหาค่าที่ปริมาณ
9. เซต เครื่องสำอางค์ อาจจะมีความเชื่อมโยงกันบางเรื่อง
10. เศษส่วน ต้องให้เด็กรู้จักทั้งหมด ของทั้งหมดแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย บางเรื่องต้องทำตามแบบเขา ลงมือปฎิบัติจริง ประสาทสัมภัสทั้ง 5
12. การอนุรักษ์ คงอยู่ ดูแล รักษา
รูปธรรม> กึ่งนามธรรม >นามธรรม
ของดร. เยาวภา เดชะคุปต์
1. การจัดกลุ่มหรือเซต ได้แก่ กาารจับคู่สิ่งของ
2. จำนวณ 1-10 ฝึกนับ 1-10
3. ระบบจำนวณและชื่อของตัวเลข
4. ความสัมพันธ์ระหว่างของเซตต่างๆ
5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6. ลำดับที่สำคัญและประโยชน์คริตศาสตร์
7. การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งที่จำเป็น
8. รูปทรงเรขาคณิต เช่น การเปรียบเทียบ ขนาดระยะทาง
9. สถิติและกราฟ
วันศุกร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
ขอบข่ายของหลักสูตร
ของดร. วิทยา
การเขียนเลขคณิตเพื่อแทนค่า สื่่อจำนวณ
1. นับจำนวณ
2. ตัวเลข เลขฮินดูอารบิก เลขไทย
3. จับคู่ รูปร่างรูปทรง จำนวณที่เท่ากัน
4. การจัดประเภท กำหนดเกณฑ์ต่างๆ สำหรับเด็ก จะสอนเด็กต้องสอนทีละเรื่อง
-กำหนดเกณฑ์ -ตรวจสอบ -จัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ ต้องใช้การสังเกต เด็กตอบตามที่เห็น
-ต้องหาค่าของมันก่อน -นำปริมาณมาเปรียบเทียบ
6. การจัดลำดับ
-ต้องหาค่า -เปรียบเทียบ -วางเรียงลำดับ -มีตัวเลขมากำกับ
7. รูปร่างและเนื้อที่
8. การวัด การหาค่าที่ปริมาณ
9. เซต เครื่องสำอางค์ อาจจะมีความเชื่อมโยงกันบางเรื่อง
10. เศษส่วน ต้องให้เด็กรู้จักทั้งหมด ของทั้งหมดแบ่งเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย บางเรื่องต้องทำตามแบบเขา ลงมือปฎิบัติจริง ประสาทสัมภัสทั้ง 5
12. การอนุรักษ์ คงอยู่ ดูแล รักษา
รูปธรรม> กึ่งนามธรรม >นามธรรม
ของดร. เยาวภา เดชะคุปต์
1. การจัดกลุ่มหรือเซต ได้แก่ กาารจับคู่สิ่งของ
2. จำนวณ 1-10 ฝึกนับ 1-10
3. ระบบจำนวณและชื่อของตัวเลข
4. ความสัมพันธ์ระหว่างของเซตต่างๆ
5. คุณสมบัติของคณิตศาสตร์จากการรวมกลุ่ม
6. ลำดับที่สำคัญและประโยชน์คริตศาสตร์
7. การวัด ได้แก่ การวัดสิ่งที่จำเป็น
8. รูปทรงเรขาคณิต เช่น การเปรียบเทียบ ขนาดระยะทาง
9. สถิติและกราฟ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)